ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในคอลลอยด์ ของ คอลลอยด์

ปรากฏการณ์ทินดอลล์

ปรากฏการณ์ทินดอลล์

ปรากฏการณ์ทินดอล์ (Tyndall Effect) คือปรากฏการณ์กระเจิงแสง เมื่อฉายลำแสงไปในสารคอลลอยด์บางชนิด อนุภาคคอลลอยด์จะช่วยกระเจิงแสงและทำให้มองเห็นเป็นลำแสงได้ เช่นการทอแสงของอากาศที่มีละอองฝุ่นอยู่ ค้นพบโดย จอห์น ทินดอ ลในปี พ.ศ. 2412เช่น หมอก ฝุ่น

การเคลื่อนที่แบบบราวน์

การเคลื่อนที่แบบบราวน์ (Brownian Motion) คือการเคลื่อนที่ของอนุภาคคอลลอยด์ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนที่แบบสุ่ม โดยการชนไปมาของอนุภาคจากส่วนเนื้อเดียว ซึ่งโรเบิร์ต บราวน์ค้นพบปรากฏการณ์นี้ในการส่องควันโดยกล้องจุลทรรศน์

การวิ่งของโมเลกุลกับความเร็วแสงที่ผ่านสารละลายคอลลอยด์

จากปรากฏการทินดอลล์คือปรากฏการณ์กระเจิงแสง โมเลกุลที่อยู่ภายในอนุภาคคอลลอยด์ จะเกิดประกฏการ undoll ultra tony Effect (u.u.t.e) หลังการเกิดประกฏการณ์ จะเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับทางด้านแสง ความเร็วของแสงจะลดลงครึ่งหนึ่งตามทฤษฏี ของ sir.horinton flash ที่กล่าวว่า "ความเร็วของแสงเป็นพลังงานที่สามารถสัมผัสได้ด้วยแสงเท่านั้น"